เรียบเรียงโดย ................ประภาพร คงวัดใหม่
สรุปสาระสำคัญ
เทคโนโลยี (Technology) คือ การนำความรู้ของศาสตร์ใดๆ มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ ปละประสิทธิผล
เทคโนโลยีการศึกษา ( Educational Technology) หมายถึง การนำความรู้ของศาสตร์ใดๆ มาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
นวัตกรรม
(Innovation) หมายถึง แนวความคิด
การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงานนั้นๆ
เพื่อให้เกิดผลดี มีประสิทธิภาพ
นวัตกรรมการศึกษา
(Educational Innovation ) หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษา
และการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม
เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมการศึกษา และประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย
ตัวอย่างนวัตกรรมการเรียนการสอน
E-Learning CAI
: computer assisted instruction web
based learning WebQuest M-learning
ตัวอย่างนวัตกรรมการเรียนการสอน
-การเรียนรู้ฯศตวรรษที่
21 - Brain Based Learning - Constructivism
-
Constructionism -
Graphic Organizers - 4 MAT
ความสำคัญและลักษณะของสื่อ/เทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
1. เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การเรียนการสอน มีความหมายมากขึ้น
ทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้กว้างขวาง เรียนได้เร็วขึ้น
ทำให้ผู้สอนมีเวลาให้ผู้เรียนมากขึ้น
2. เทคโนโลยีการศึกษาสามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความสามารถของผู้เรียน การเรียนการสอนจะเป็นการตอบสนองความสนใจและความต้องการของแต่ละบุคคลได้ดี
3.เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การจัดการศึกษา ตั้งบนรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทำให้การจัดการศึกษาเป็นระบบและเป็นขั้นตอน
4. เทคโนโลยีการศึกษาช่วยให้การศึกษามีพลังมากขึ้น การนำเทคโนโลยีด้านสื่อเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะทำให้การศึกษามีพลัง
5. เทคโนโลยีการศึกษาทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวาง และได้พบกับสภาพความจริงในชีวิตมากที่สุด
6. เทคโนโลยีการศึกษาทำให้เปิดโอกาสทางการศึกษาทั้งๆ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
2. เทคโนโลยีการศึกษาสามารถตอบสนองความแตกต่างของผู้เรียน ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามความสามารถของผู้เรียน การเรียนการสอนจะเป็นการตอบสนองความสนใจและความต้องการของแต่ละบุคคลได้ดี
3.เทคโนโลยีการศึกษาทำให้การจัดการศึกษา ตั้งบนรากฐานของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทำให้การจัดการศึกษาเป็นระบบและเป็นขั้นตอน
4. เทคโนโลยีการศึกษาช่วยให้การศึกษามีพลังมากขึ้น การนำเทคโนโลยีด้านสื่อเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่จะทำให้การศึกษามีพลัง
5. เทคโนโลยีการศึกษาทำให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างกว้างขวาง และได้พบกับสภาพความจริงในชีวิตมากที่สุด
6. เทคโนโลยีการศึกษาทำให้เปิดโอกาสทางการศึกษาทั้งๆ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
ประเภทสื่อ เทคโนโลยี
นวัตกรรมการศึกษา
ประเภทของสื่อการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอนแบ่งตามคุณลักษณะได้ 4 ประเภทคือ1. สื่อประเภทวัสดุ คือ สิ่งที่ใช้แล้วหมดไป มีมาก ไม่คงทนถาวร อายุการใช้งานน้อย สิ้นเปลืองได้แก่สไลด์ แผ่นใส เอกสาร ตำรา สารเคมี สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ และคู่มือการฝึกปฏิบัติ
2. สื่อประเภทอุปกรณ์ คือ สิ่งที่ใช้ในการเรียนการสอน ไม่สิ้นเปลืองง่าย คงทน ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ หุ่นจำลอง เครื่องเล่นเทปเสียง เครื่องเล่นวีดิทัศน์ เครื่องฉายแผ่นใส อุปกรณ์และเครื่องมือในห้องปฏิบัติกา
3. สื่อประเภทเทคนิคหรือวิธีการ คือ วิธีการสอน กระบวนการ เทคนิกการสอน ได้แก่การสาธิต การอภิปรายกลุ่ม การฝึกปฏิบัติการฝึกงาน การจัดนิทรรศการ และสถานการณ์จำลอง
การวิจัยพัฒนาสื่อ-นวัตกรรม(R&D)
R การศึกษาวิเคราะห์ความรู้/ข้อมูลเกี่ยวข้อง/หาNA
D การสังเคราะห์/ร่าง/ทำต้นแบบนวัตกรรม
R การตรวจสอบนวัตกรรมเบื้องต้น
(เช่น โดยผู้เชี่ยวชาญ)
D การปรับปรุง แก้ไข
R การทดลอง(กลุ่มเล็ก-ใหญ่)
หรือตรวจสอบความเชื่อมั่น
D การปรับปรุง แก้ไข
การเผยแพร่ หรือนำนวัตกรรมที่พัฒนาไปใช้
การเผยแพร่ หรือนำนวัตกรรมที่พัฒนาไปใช้
ลักษณะความเป็นเทคโนโลยีการศึกษาที่เหมาะสม
ช่วยให้เกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมาย
จัดหาและใช้ได้โดยสะดวก ไม่ซับซ้อน
ประหยัด
มีผลกระทบด้านลบน้อยมาก ต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ส่งเสริมศักดิ์ศรีและศักยภาพของมนุษย์
มีเหตุผล มีความรอบคอบ เป็นต้น
เกณฑ์การเลือกใช้สื่อ
เหมาะกับการแก้ไขปัญหา
/ พัฒนาการเรียนรู้
เหมาะสมกับธรรมชาติเนื้อหาวิชาและการวิจัยผู้เรียน
เป็นนวัตกรรมที่ดีกว่าเดิม
ประหยัด สะดวก
ไม่ยุ่งยาก
ซับซ้อนในการใช้
สามารถทดสอบ
/ ทดลอง ใช้เวลาไม่นาน
ฯลฯ
รูปแบบการสอน ( Teaching /
Instruction Model)
แบบแผนการดำเนินการสอนที่ ได้รับการจัดระบบ ให้สัมพันธ์
กับทฤษฎีหลักการการเรียนรู้ ที่รูปแบบการสอนนั้นยึดถือ โดยได้รับการพิสูจน์ /ทดสอบว่ามีประสิทธิภาพ
ช่วยให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
อย่างมีประสิทธิภาพ
ตามจุดมุ่งหมายของรูปแบบนั้น
วิธีสอน
ลักษณะขั้นตอนที่ผู้สอน
ดำเนินการให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์
ด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่แตกต่างกันตามองค์ประกอบ และขั้นตอน อันเป็นลักษณะเด่น ขาดไม่ได้ ของวิธีนั้นๆ
เทคนิคการสอน
กลวิธีต่าง
ๆ ที่เสริมกระบวนการ ขั้นตอน ช่วยให้กระบวนการ ขั้นตอน นั้นๆ มี คุณภาพ
ประสิทธิภาพมากขึ้น
การกำหนดสื่อฯ
กับสาระและเป้าหมาย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
K พุทธิพิสัย
A VS จิตพิสัย
P ทักษะพิสัย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น